กำเนิดวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ขอโอกาสกราบลาจากองค์หลวงปู่หลุยแล้ว ท่านได้พิจารณาแสวงหา ที่ปฏิบัติธรรม โดยท่าน ได้เลือกไปวิเวก ทางจังหวัดกาญจนบุรี เพราะเห็นว่าสถานที่นั้น ยังไม่ค่อยมีพระปฏิบัติมาพักอยู่ ท่านจึงบอกกับลูกศิษย์ ให้ขับรถมารับที่วัดพระศรีมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร เพื่อเดินทาง ไปทางจังหวัดกาญจนบุรี และได้ มาส่งท่าน ถึงเพียงแค่วัดพุทธวิมุติวนาราม อ.ไทรโยค ด้วยถนนเพิ่งสร้างมาสิ้นสุด ณ ตรงนั้น การเดินทาง จึงต้องเดินทางต่อโดยทางเรือ จนถึงทองผาภูมิ ท่านจึงให้คณะที่มาส่งกลับไป เหลือแต่ท่านพระอาจารย์สาคร เดินทางต่อไปเพียงลำพัง เมื่อถึงทองผาภูมิ เนื่องจากท่านไม่รู้จักใคร ท่านจึงได้สอบถามหาโยมผู้อุปถัมภ์ วัดในละแวกนั้นให้พาท่านไปดูถ้ำต่าง ๆ เพื่อเป็นที่พำนักปฏิบัติ ในพรรษาที่ใกล้จะมาถึง พวกโยมได้พาไป ดูถ้ำหลายแห่ง จนในที่สุดท่านมาพบ ถ้ำแก่งกระโต่ง อ. ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี เป็นที่จำพรรษาในคราวนั้นเอง
ถ้ำแก่งกระโต่ง  องค์หลวงปู่ฝั้นพาสร้างวัดใหม่ คืนหนึ่งที่ถ้ำแก่งกระโต่ง ท่านพระอาจารย์สาคร เข้าภาวนาตอนหัวค่ำอันเป็นปกติ ปรากฏว่าเมื่อจิตสงบแล้วในค่ำนั้น ท่านได้นิมิตเห็นองค์หลวงปู่ฝั้น พาท่านและพระเณรสร้าง กุฏิพระ ศาลา ถนนหนทางในวัดแห่งหนึ่ง ท่านและพระเณรอื่น ๆ ก็ช่วยกันสร้างอย่างแข็งขัน เฉกเช่นที่ท่าน เคยช่วยงานก่อสร้าง กับองค์หลวงปู่ฝั้นมาตามปกติ ท่านอยู่สร้างวัดนั้นนานเหมือนเป็นปี จนท่านคุ้นเคยกับสถานที่นั้นเป็นอย่างดี ด้วยต้องเดินไปทั่วเขตวัดเพื่อสำรวจทาง และหาไม้ หาฟืน อยู่ทุกวัน จนท่านจำได้ว่ามีถนน มีกุฏิ ศาลา อยู่อย่างไร มีคลองทางน้ำ มีต้นไม้อะไรอยู่ตรงไหน สิ่งหนึ่งที่ท่านจำได้ชัดคือ บ่อน้ำพุที่มีปลาอาศัย มีต้นไม้ที่ไม่มีรากแก้วล้มอยู่ ด้านโคนต้นอยู่ที่บ่อพุน้ำ ทางปลายพาดคลองชี้ไปทางทิศตะวันออก วันหนึ่ง หลังจากพักทำงาน ขณะองค์หลวงปู่ฝั้นมาพักฉันน้ำ องค์หลวงปู่ก็พูดขึ้นกับท่านพระอาจารย์สาครว่า “ท่านอยู่ที่นี่นะ” ในนิมิตนั้น ท่านพระอาจารย์สาครได้ตอบไปว่า “กระผมไม่เอา กระผมจะกลับสกลนคร ที่นี่ลำบาก” ด้วยการตอบสวนคำ ที่ไม่เคยทำต่อองค์หลวงปู่ฝั้นมาก่อน จิตท่านจึงถอนทันที ซึ่งขณะนั้นเป็นเวลา ตี ๒ ล่วงเข้าวันใหม่ เมื่อมีโอกาส ท่านพระอาจารย์สาคร จึงสอบถามกับญาติโยม ที่มีศรัทธามาทำบุญใส่บาตร ว่าเคยเห็นสถานที่ ที่มีลักษณะดังกล่าวหรือไม่ จนได้ความแล้วจึงได้ไปดู พบว่าสถานที่นั้นตรงกับในนิมิตทุกประการ ซึ่งขณะที่เดินไปนั้น ท่านสามารถบอกล่วงหน้าได้ว่า ประเดี๋ยวตรงทางขึ้นวัด จะมีจอมปลวกและไม้แดงอยู่ ก็พบดังท่านบอก และถัดไปจะมีต้นมะขามป้อม และมีคลองทางน้ำไหลมาจากบ่อพุน้ำด้านบน เดินไปตามคลองจะมีต้นฉะค่าง และเมื่อข้ามคลองไปจะเจอต้นแดงคู่อยู่ ก็เจอตามที่ท่านพูด เหมือนคุ้นเคยมาก่อน และเมื่อสุดคลองก็พบบ่อพุน้ำ มีต้นไม้ล้มอยู่ ในลักษณะที่ท่านเห็นในนิมิตทุกประการ
บ่อพุน้ำ ดังนั้น ท่านจึงตัดสินใจ พาญาติโยมผู้มีจิตศรัทธา เริ่มสร้างเสนาสนะ ตามที่องค์หลวงปู่ฝั้นบอกกับท่าน ในนิมิต และท่านได้อยู่จำพรรษา ณ สถานที่นี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ เรื่อยมา ต่อมาท่าน ได้สร้างเสนาสนะเพิ่มเติม จนเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๓ ได้รับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนา โดยสมบูรณ์ มีนามว่า วัดเวฬุวัน เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๓ และท่านพระอาจารย์สาคร ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๓๗ และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๑ และได้พระราชทานสมณศัักดิ์ เป็น พระครูภาวนาสุทธาจาร เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๑ นับจากวันที่ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวัน เป็นต้นมา สถานที่แห่งนี้ ได้สร้างได้อบรมพระปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และอบรมอุบาสก อุบาสิกา ให้ดำรงอยู่ในเส้นทาง แห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก อีกประการหนึ่ง อาจเป็นจุดประสงค์ขององค์หลวงปู่ฝั้น ที่ต้องการให้วัดเวฬุวัน เป็นสถานที่คอยสนับสนุนพระเณร ที่มุ่งต่อการประพฤติ ปฏิบัติธรรม เพราะหากพิจารณาสภาพผืนป่า ที่เหมาะแก่การประพฤติปฏิบัติ ในปัจจุบันนี้ ก็จะเห็นว่า ผืนป่าภาคตะวันตก ยังคงความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด และเป็นสถานที่สัปปายะอย่างยิ่ง ซึ่งตำแหน่งที่ตั้งของวัดเวฬุวัน เป็นเหมือนประตูที่เข้า ไปสู่ผืนป่าดังกล่าว องค์หลวงปู่ฝั้น จึงได้สั่งให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างวัดขึ้น ณ ที่ตรงนี้ เพื่อความเจริญแก่พระเณร และพระพุทธศาสนาต่อไป จวบจนปัจจุบันนี้ ต้นแดงตรงทางขึ้นวัด ยังคงอยู่ข้างโรงล้างบาตรในปัจจุบัน ส่วนต้นมะข้ามป้อมที่ท่านตั้งใจจะเก็บไว้ ถูกไถไปแล้วเมื่อครั้งสร้างศาลา ส่วนต้นฉะค่าง และต้นแดงคู่ยังคง ที่บ่อพุน้ำท่านได้สร้างขอบรอบบ่อ เพื่อให้ปลาได้อาศัย และทุกหน้าน้ำก็จะมีน้ำผุดไหลออกมาจนเต็ม และล้น ไหลไปตามทางน้ำ เป็นคลองดังที่ท่านเห็นในนิมิตนั้น เสมอทุกปี ส่วนต้นไม้ที่ล้มเป็นหมายนั้น เป็นไม้เนื้ออ่อนก็ได้ผุพังสูญสลายไปตามกาลเวลา
โรงล้างบาตร เมตตาของสององค์หลวงปู่ ต่อวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวันแล้ว ก็ได้กลับไปกราบเรียน ถึงความก้าวหน้า และสภาพอันสัปปายะของวัด แก่องค์หลวงปู่หลุย และองค์หลวงปู่ชอบเสมอ ๆ องค์หลวงปู่ทั้งสอง ก็มีเมตตาชมเชย และให้กำลังใจตลอดมา ตามที่ท่านพระอาจารย์สาคร กราบเรียนว่า สภาพป่าบริเวณวัด ยังอุดมสมบูรณ์อยู่มาก มีเสือ ค่าง และสัตว์ป่าหลายชนิดชุกชุมอยู่ และมักจะมีเทวดามาสวดมนต์ทำวัตรอยู่เสมอๆ องค์หลวงปู่หลุยจึงบอกว่า “สถานที่นี้เป็นมงคล เป็นที่ศักดิ์สิทธิ์ ทำภาวนาดี ให้ท่านสาครอยู่ที่นี่แหละ” และองค์หลวงปู่หลุย ยังให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างกุฏิสำหรับองค์ท่านด้วย โดยเมตตาให้ปัจจัยมาสร้าง ๑๐,๐๐๐ บาท โดยให้สร้างกุฏิท่านมีเสา ๒๐ ต้น และครั้งเมื่อท่านพระอาจารย์สาคร สร้างศาลา องค์หลวงปู่หลุยยังเมตตา ให้ปัจจัยมาร่วมสร้างอีกด้วย นับเป็นมงคลอันประมาณค่ามิได้
กุฏิหลวงปู่ชอบ อีกทั้งองค์หลวงปู่ชอบ ซึ่งมีจิตเมตตาเอ็นดูท่านพระอาจารย์สาครอยู่เสมอ แม้เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๑๔ เมื่อองค์หลวงปู่อาพาธ ไม่สามารถเดินได้ เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ไปกราบเยี่ยมองค์หลวงปู่ ท่านก็จะเอ็นดู ให้ท่านพระอาจารย์สาคร อุ้มพาท่านไปโน่นมานี่เสมอ และหากท่านพระอาจารย์สาคร ขาดการไปเยี่ยม สัก ๒ – ๓ เดือน องค์หลวงปู่ มักจะให้พระมาตาม ท่านพระอาจารย์สาคร ไปเยี่ยมท่านเสมอ หากลูกศิษย์องค์นี้ขึ้นไปไม่ได้ องค์หลวงปู่ชอบ ก็จะให้คนพาองค์ท่านมาเยี่ยมเอง แม้ท่านพระอาจารย์สาคร จะมาอยู่ที่วัดเวฬุวันแล้ว องค์หลวงปู่ชอบ ก็ได้เมตตา มาโปรดให้เป็นสิริมงคลแก่พระเณร และญาติโยม ที่วัดเวฬุวัน ถึง ๒ ครั้งด้วยกัน โดยท่านพระอาจารย์สาคร ได้สร้างกุฏิถวาย เป็นที่พักภาวนาแก่องค์หลวงปู่ทั้งสอง ที่ข้างบ่อพุน้ำ ที่ท่านเคยนิมิตเห็น และถือเป็นนิมิตหมาย ในการตามหาสถานที่ สร้างวัดเวฬุวันแห่งนี้ โดยปัจจุบัน กุฏินี้ก็ยังอยู่ เป็นอนุสรณ์ รำลึกถึงความเมตตา ที่ได้รับจากองค์หลวงปู่ทั้งสอง ผู้เป็นดั่งเพชรคู่แฝดประดับยอดมงกุฏแห่งเมืองเลย
พระอาจารย์สาคร อุ้มหลวงปู่ชอบ
คลิกเพื่อดูแผนที่กูเกิ้ล

 

จัดทำโดย คณะศิษย์วัดป่ามณีกาญจน์

กำเนิดวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ขอโอกาสกราบลาจากองค์หลวงปู่หลุยแล้ว ท่านได้พิจารณาแสวงหา ที่ปฏิบัติธรรม โดยท่าน ได้เลือกไปวิเวก ทางจังหวัดกาญจนบุรี เพราะเห็นว่าสถานที่นั้น ยังไม่ค่อยมีพระปฏิบัติมาพักอยู่ ท่านจึงบอกกับลูกศิษย์ ให้ขับรถมารับที่วัดพระศรีมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร เพื่อเดินทาง ไปทางจังหวัดกาญจนบุรี และได้ มาส่งท่าน ถึงเพียงแค่วัดพุทธวิมุติวนาราม อ.ไทรโยค ด้วยถนนเพิ่งสร้างมาสิ้นสุด ณ ตรงนั้น การเดินทาง จึงต้องเดินทางต่อโดยทางเรือ จนถึงทองผาภูมิ ท่านจึงให้คณะที่มาส่งกลับไป เหลือแต่ท่านพระอาจารย์สาคร เดินทางต่อไปเพียงลำพัง เมื่อถึงทองผาภูมิ เนื่องจากท่านไม่รู้จักใคร ท่านจึงได้สอบถามหาโยมผู้อุปถัมภ์ วัดในละแวกนั้นให้พาท่านไปดูถ้ำต่าง ๆ เพื่อเป็นที่พำนักปฏิบัติ ในพรรษาที่ใกล้จะมาถึง พวกโยมได้พาไป ดูถ้ำหลายแห่ง จนในที่สุดท่านมาพบ ถ้ำแก่งกระโต่ง อ. ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี เป็นที่จำพรรษาในคราวนั้นเอง
ถ้ำแก่งกระโต่ง  องค์หลวงปู่ฝั้นพาสร้างวัดใหม่ คืนหนึ่งที่ถ้ำแก่งกระโต่ง ท่านพระอาจารย์สาคร เข้าภาวนาตอนหัวค่ำอันเป็นปกติ ปรากฏว่าเมื่อจิตสงบแล้วในค่ำนั้น ท่านได้นิมิตเห็นองค์หลวงปู่ฝั้น พาท่านและพระเณรสร้าง กุฏิพระ ศาลา ถนนหนทางในวัดแห่งหนึ่ง ท่านและพระเณรอื่น ๆ ก็ช่วยกันสร้างอย่างแข็งขัน เฉกเช่นที่ท่าน เคยช่วยงานก่อสร้าง กับองค์หลวงปู่ฝั้นมาตามปกติ ท่านอยู่สร้างวัดนั้นนานเหมือนเป็นปี จนท่านคุ้นเคยกับสถานที่นั้นเป็นอย่างดี ด้วยต้องเดินไปทั่วเขตวัดเพื่อสำรวจทาง และหาไม้ หาฟืน อยู่ทุกวัน จนท่านจำได้ว่ามีถนน มีกุฏิ ศาลา อยู่อย่างไร มีคลองทางน้ำ มีต้นไม้อะไรอยู่ตรงไหน สิ่งหนึ่งที่ท่านจำได้ชัดคือ บ่อน้ำพุที่มีปลาอาศัย มีต้นไม้ที่ไม่มีรากแก้วล้มอยู่ ด้านโคนต้นอยู่ที่บ่อพุน้ำ ทางปลายพาดคลองชี้ไปทางทิศตะวันออก วันหนึ่ง หลังจากพักทำงาน ขณะองค์หลวงปู่ฝั้นมาพักฉันน้ำ องค์หลวงปู่ก็พูดขึ้นกับท่านพระอาจารย์สาครว่า “ท่านอยู่ที่นี่นะ” ในนิมิตนั้น ท่านพระอาจารย์สาครได้ตอบไปว่า “กระผมไม่เอา กระผมจะกลับสกลนคร ที่นี่ลำบาก” ด้วยการตอบสวนคำ ที่ไม่เคยทำต่อองค์หลวงปู่ฝั้นมาก่อน จิตท่านจึงถอนทันที ซึ่งขณะนั้นเป็นเวลา ตี ๒ ล่วงเข้าวันใหม่ เมื่อมีโอกาส ท่านพระอาจารย์สาคร จึงสอบถามกับญาติโยม ที่มีศรัทธามาทำบุญใส่บาตร ว่าเคยเห็นสถานที่ ที่มีลักษณะดังกล่าวหรือไม่ จนได้ความแล้วจึงได้ไปดู พบว่าสถานที่นั้นตรงกับในนิมิตทุกประการ ซึ่งขณะที่เดินไปนั้น ท่านสามารถบอกล่วงหน้าได้ว่า ประเดี๋ยวตรงทางขึ้นวัด จะมีจอมปลวกและไม้แดงอยู่ ก็พบดังท่านบอก และถัดไปจะมีต้นมะขามป้อม และมีคลองทางน้ำไหลมาจากบ่อพุน้ำด้านบน เดินไปตามคลองจะมีต้นฉะค่าง และเมื่อข้ามคลองไปจะเจอต้นแดงคู่อยู่ ก็เจอตามที่ท่านพูด เหมือนคุ้นเคยมาก่อน และเมื่อสุดคลองก็พบบ่อพุน้ำ มีต้นไม้ล้มอยู่ ในลักษณะที่ท่านเห็นในนิมิตทุกประการ
บ่อพุน้ำ ดังนั้น ท่านจึงตัดสินใจ พาญาติโยมผู้มีจิตศรัทธา เริ่มสร้างเสนาสนะ ตามที่องค์หลวงปู่ฝั้นบอกกับท่าน ในนิมิต และท่านได้อยู่จำพรรษา ณ สถานที่นี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ เรื่อยมา ต่อมาท่าน ได้สร้างเสนาสนะเพิ่มเติม จนเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๓ ได้รับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนา โดยสมบูรณ์ มีนามว่า วัดเวฬุวัน เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๓ และท่านพระอาจารย์สาคร ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๓๗ และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๑ และได้พระราชทานสมณศัักดิ์ เป็น พระครูภาวนาสุทธาจาร เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๑ นับจากวันที่ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวัน เป็นต้นมา สถานที่แห่งนี้ ได้สร้างได้อบรมพระปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และอบรมอุบาสก อุบาสิกา ให้ดำรงอยู่ในเส้นทาง แห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก อีกประการหนึ่ง อาจเป็นจุดประสงค์ขององค์หลวงปู่ฝั้น ที่ต้องการให้วัดเวฬุวัน เป็นสถานที่คอยสนับสนุนพระเณร ที่มุ่งต่อการประพฤติ ปฏิบัติธรรม เพราะหากพิจารณาสภาพผืนป่า ที่เหมาะแก่การประพฤติปฏิบัติ ในปัจจุบันนี้ ก็จะเห็นว่า ผืนป่าภาคตะวันตก ยังคงความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด และเป็นสถานที่สัปปายะอย่างยิ่ง ซึ่งตำแหน่งที่ตั้งของวัดเวฬุวัน เป็นเหมือนประตูที่เข้า ไปสู่ผืนป่าดังกล่าว องค์หลวงปู่ฝั้น จึงได้สั่งให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างวัดขึ้น ณ ที่ตรงนี้ เพื่อความเจริญแก่พระเณร และพระพุทธศาสนาต่อไป จวบจนปัจจุบันนี้ ต้นแดงตรงทางขึ้นวัด ยังคงอยู่ข้างโรงล้างบาตรในปัจจุบัน ส่วนต้นมะข้ามป้อมที่ท่านตั้งใจจะเก็บไว้ ถูกไถไปแล้วเมื่อครั้งสร้างศาลา ส่วนต้นฉะค่าง และต้นแดงคู่ยังคง ที่บ่อพุน้ำท่านได้สร้างขอบรอบบ่อ เพื่อให้ปลาได้อาศัย และทุกหน้าน้ำก็จะมีน้ำผุดไหลออกมาจนเต็ม และล้น ไหลไปตามทางน้ำ เป็นคลองดังที่ท่านเห็นในนิมิตนั้น เสมอทุกปี ส่วนต้นไม้ที่ล้มเป็นหมายนั้น เป็นไม้เนื้ออ่อนก็ได้ผุพังสูญสลายไปตามกาลเวลา
โรงล้างบาตร เมตตาของสององค์หลวงปู่ ต่อวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวันแล้ว ก็ได้กลับไปกราบเรียน ถึงความก้าวหน้า และสภาพอันสัปปายะของวัด แก่องค์หลวงปู่หลุย และองค์หลวงปู่ชอบเสมอ ๆ องค์หลวงปู่ทั้งสอง ก็มีเมตตาชมเชย และให้กำลังใจตลอดมา ตามที่ท่านพระอาจารย์สาคร กราบเรียนว่า สภาพป่าบริเวณวัด ยังอุดมสมบูรณ์อยู่มาก มีเสือ ค่าง และสัตว์ป่าหลายชนิดชุกชุมอยู่ และมักจะมีเทวดามาสวดมนต์ทำวัตรอยู่เสมอๆ องค์หลวงปู่หลุยจึงบอกว่า “สถานที่นี้เป็นมงคล เป็นที่ศักดิ์สิทธิ์ ทำภาวนาดี ให้ท่านสาครอยู่ที่นี่แหละ” และองค์หลวงปู่หลุย ยังให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างกุฏิสำหรับองค์ท่านด้วย โดยเมตตาให้ปัจจัยมาสร้าง ๑๐,๐๐๐ บาท โดยให้สร้างกุฏิท่านมีเสา ๒๐ ต้น และครั้งเมื่อท่านพระอาจารย์สาคร สร้างศาลา องค์หลวงปู่หลุยยังเมตตา ให้ปัจจัยมาร่วมสร้างอีกด้วย นับเป็นมงคลอันประมาณค่ามิได้
กุฏิหลวงปู่ชอบ อีกทั้งองค์หลวงปู่ชอบ ซึ่งมีจิตเมตตาเอ็นดูท่านพระอาจารย์สาครอยู่เสมอ แม้เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๑๔ เมื่อองค์หลวงปู่อาพาธ ไม่สามารถเดินได้ เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ไปกราบเยี่ยมองค์หลวงปู่ ท่านก็จะเอ็นดู ให้ท่านพระอาจารย์สาคร อุ้มพาท่านไปโน่นมานี่เสมอ และหากท่านพระอาจารย์สาคร ขาดการไปเยี่ยม สัก ๒ – ๓ เดือน องค์หลวงปู่ มักจะให้พระมาตาม ท่านพระอาจารย์สาคร ไปเยี่ยมท่านเสมอ หากลูกศิษย์องค์นี้ขึ้นไปไม่ได้ องค์หลวงปู่ชอบ ก็จะให้คนพาองค์ท่านมาเยี่ยมเอง แม้ท่านพระอาจารย์สาคร จะมาอยู่ที่วัดเวฬุวันแล้ว องค์หลวงปู่ชอบ ก็ได้เมตตา มาโปรดให้เป็นสิริมงคลแก่พระเณร และญาติโยม ที่วัดเวฬุวัน ถึง ๒ ครั้งด้วยกัน โดยท่านพระอาจารย์สาคร ได้สร้างกุฏิถวาย เป็นที่พักภาวนาแก่องค์หลวงปู่ทั้งสอง ที่ข้างบ่อพุน้ำ ที่ท่านเคยนิมิตเห็น และถือเป็นนิมิตหมาย ในการตามหาสถานที่ สร้างวัดเวฬุวันแห่งนี้ โดยปัจจุบัน กุฏินี้ก็ยังอยู่ เป็นอนุสรณ์ รำลึกถึงความเมตตา ที่ได้รับจากองค์หลวงปู่ทั้งสอง ผู้เป็นดั่งเพชรคู่แฝดประดับยอดมงกุฏแห่งเมืองเลย
พระอาจารย์สาคร อุ้มหลวงปู่ชอบ
คลิกเพื่อดูแผนที่กูเกิ้ล
กำเนิดวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ขอโอกาสกราบลาจากองค์หลวงปู่หลุยแล้ว ท่านได้พิจารณาแสวงหา ที่ปฏิบัติธรรม โดยท่าน ได้เลือกไปวิเวก ทางจังหวัดกาญจนบุรี เพราะเห็นว่าสถานที่นั้น ยังไม่ค่อยมีพระปฏิบัติมาพักอยู่ ท่านจึงบอกกับลูกศิษย์ ให้ขับรถมารับที่วัดพระศรีมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร เพื่อเดินทาง ไปทางจังหวัดกาญจนบุรี และได้ มาส่งท่าน ถึงเพียงแค่วัดพุทธวิมุติวนาราม อ.ไทรโยค ด้วยถนนเพิ่งสร้างมาสิ้นสุด ณ ตรงนั้น การเดินทาง จึงต้องเดินทางต่อโดยทางเรือ จนถึงทองผาภูมิ ท่านจึงให้คณะที่มาส่งกลับไป เหลือแต่ท่านพระอาจารย์สาคร เดินทางต่อไปเพียงลำพัง เมื่อถึงทองผาภูมิ เนื่องจากท่านไม่รู้จักใคร ท่านจึงได้สอบถามหาโยมผู้อุปถัมภ์ วัดในละแวกนั้นให้พาท่านไปดูถ้ำต่าง ๆ เพื่อเป็นที่พำนักปฏิบัติ ในพรรษาที่ใกล้จะมาถึง พวกโยมได้พาไป ดูถ้ำหลายแห่ง จนในที่สุดท่านมาพบ ถ้ำแก่งกระโต่ง อ. ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี เป็นที่จำพรรษาในคราวนั้นเอง
ถ้ำแก่งกระโต่ง  องค์หลวงปู่ฝั้นพาสร้างวัดใหม่ คืนหนึ่งที่ถ้ำแก่งกระโต่ง ท่านพระอาจารย์สาคร เข้าภาวนาตอนหัวค่ำอันเป็นปกติ ปรากฏว่าเมื่อจิตสงบแล้วในค่ำนั้น ท่านได้นิมิตเห็นองค์หลวงปู่ฝั้น พาท่านและพระเณรสร้าง กุฏิพระ ศาลา ถนนหนทางในวัดแห่งหนึ่ง ท่านและพระเณรอื่น ๆ ก็ช่วยกันสร้างอย่างแข็งขัน เฉกเช่นที่ท่าน เคยช่วยงานก่อสร้าง กับองค์หลวงปู่ฝั้นมาตามปกติ ท่านอยู่สร้างวัดนั้นนานเหมือนเป็นปี จนท่านคุ้นเคยกับสถานที่นั้นเป็นอย่างดี ด้วยต้องเดินไปทั่วเขตวัดเพื่อสำรวจทาง และหาไม้ หาฟืน อยู่ทุกวัน จนท่านจำได้ว่ามีถนน มีกุฏิ ศาลา อยู่อย่างไร มีคลองทางน้ำ มีต้นไม้อะไรอยู่ตรงไหน สิ่งหนึ่งที่ท่านจำได้ชัดคือ บ่อน้ำพุที่มีปลาอาศัย มีต้นไม้ที่ไม่มีรากแก้วล้มอยู่ ด้านโคนต้นอยู่ที่บ่อพุน้ำ ทางปลายพาดคลองชี้ไปทางทิศตะวันออก วันหนึ่ง หลังจากพักทำงาน ขณะองค์หลวงปู่ฝั้นมาพักฉันน้ำ องค์หลวงปู่ก็พูดขึ้นกับท่านพระอาจารย์สาครว่า “ท่านอยู่ที่นี่นะ” ในนิมิตนั้น ท่านพระอาจารย์สาครได้ตอบไปว่า “กระผมไม่เอา กระผมจะกลับสกลนคร ที่นี่ลำบาก” ด้วยการตอบสวนคำ ที่ไม่เคยทำต่อองค์หลวงปู่ฝั้นมาก่อน จิตท่านจึงถอนทันที ซึ่งขณะนั้นเป็นเวลา ตี ๒ ล่วงเข้าวันใหม่ เมื่อมีโอกาส ท่านพระอาจารย์สาคร จึงสอบถามกับญาติโยม ที่มีศรัทธามาทำบุญใส่บาตร ว่าเคยเห็นสถานที่ ที่มีลักษณะดังกล่าวหรือไม่ จนได้ความแล้วจึงได้ไปดู พบว่าสถานที่นั้นตรงกับในนิมิตทุกประการ ซึ่งขณะที่เดินไปนั้น ท่านสามารถบอกล่วงหน้าได้ว่า ประเดี๋ยวตรงทางขึ้นวัด จะมีจอมปลวกและไม้แดงอยู่ ก็พบดังท่านบอก และถัดไปจะมีต้นมะขามป้อม และมีคลองทางน้ำไหลมาจากบ่อพุน้ำด้านบน เดินไปตามคลองจะมีต้นฉะค่าง และเมื่อข้ามคลองไปจะเจอต้นแดงคู่อยู่ ก็เจอตามที่ท่านพูด เหมือนคุ้นเคยมาก่อน และเมื่อสุดคลองก็พบบ่อพุน้ำ มีต้นไม้ล้มอยู่ ในลักษณะที่ท่านเห็นในนิมิตทุกประการ
บ่อพุน้ำ ดังนั้น ท่านจึงตัดสินใจ พาญาติโยมผู้มีจิตศรัทธา เริ่มสร้างเสนาสนะ ตามที่องค์หลวงปู่ฝั้นบอกกับท่าน ในนิมิต และท่านได้อยู่จำพรรษา ณ สถานที่นี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ เรื่อยมา ต่อมาท่าน ได้สร้างเสนาสนะเพิ่มเติม จนเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๓ ได้รับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนา โดยสมบูรณ์ มีนามว่า วัดเวฬุวัน เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๓ และท่านพระอาจารย์สาคร ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๓๗ และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๑ และได้พระราชทานสมณศัักดิ์ เป็น พระครูภาวนาสุทธาจาร เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๑ นับจากวันที่ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวัน เป็นต้นมา สถานที่แห่งนี้ ได้สร้างได้อบรมพระปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และอบรมอุบาสก อุบาสิกา ให้ดำรงอยู่ในเส้นทาง แห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก อีกประการหนึ่ง อาจเป็นจุดประสงค์ขององค์หลวงปู่ฝั้น ที่ต้องการให้วัดเวฬุวัน เป็นสถานที่คอยสนับสนุนพระเณร ที่มุ่งต่อการประพฤติ ปฏิบัติธรรม เพราะหากพิจารณาสภาพผืนป่า ที่เหมาะแก่การประพฤติปฏิบัติ ในปัจจุบันนี้ ก็จะเห็นว่า ผืนป่าภาคตะวันตก ยังคงความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด และเป็นสถานที่สัปปายะอย่างยิ่ง ซึ่งตำแหน่งที่ตั้งของวัดเวฬุวัน เป็นเหมือนประตูที่เข้า ไปสู่ผืนป่าดังกล่าว องค์หลวงปู่ฝั้น จึงได้สั่งให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างวัดขึ้น ณ ที่ตรงนี้ เพื่อความเจริญแก่พระเณร และพระพุทธศาสนาต่อไป จวบจนปัจจุบันนี้ ต้นแดงตรงทางขึ้นวัด ยังคงอยู่ข้างโรงล้างบาตรในปัจจุบัน ส่วนต้นมะข้ามป้อมที่ท่านตั้งใจจะเก็บไว้ ถูกไถไปแล้วเมื่อครั้งสร้างศาลา ส่วนต้นฉะค่าง และต้นแดงคู่ยังคง ที่บ่อพุน้ำท่านได้สร้างขอบรอบบ่อ เพื่อให้ปลาได้อาศัย และทุกหน้าน้ำก็จะมีน้ำผุดไหลออกมาจนเต็ม และล้น ไหลไปตามทางน้ำ เป็นคลองดังที่ท่านเห็นในนิมิตนั้น เสมอทุกปี ส่วนต้นไม้ที่ล้มเป็นหมายนั้น เป็นไม้เนื้ออ่อนก็ได้ผุพังสูญสลายไปตามกาลเวลา
โรงล้างบาตร เมตตาของสององค์หลวงปู่ ต่อวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวันแล้ว ก็ได้กลับไปกราบเรียน ถึงความก้าวหน้า และสภาพอันสัปปายะของวัด แก่องค์หลวงปู่หลุย และองค์หลวงปู่ชอบเสมอ ๆ องค์หลวงปู่ทั้งสอง ก็มีเมตตาชมเชย และให้กำลังใจตลอดมา ตามที่ท่านพระอาจารย์สาคร กราบเรียนว่า สภาพป่าบริเวณวัด ยังอุดมสมบูรณ์อยู่มาก มีเสือ ค่าง และสัตว์ป่าหลายชนิดชุกชุมอยู่ และมักจะมีเทวดามาสวดมนต์ทำวัตรอยู่เสมอๆ องค์หลวงปู่หลุยจึงบอกว่า “สถานที่นี้เป็นมงคล เป็นที่ศักดิ์สิทธิ์ ทำภาวนาดี ให้ท่านสาครอยู่ที่นี่แหละ” และองค์หลวงปู่หลุย ยังให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างกุฏิสำหรับองค์ท่านด้วย โดยเมตตาให้ปัจจัยมาสร้าง ๑๐,๐๐๐ บาท โดยให้สร้างกุฏิท่านมีเสา ๒๐ ต้น และครั้งเมื่อท่านพระอาจารย์สาคร สร้างศาลา องค์หลวงปู่หลุยยังเมตตา ให้ปัจจัยมาร่วมสร้างอีกด้วย นับเป็นมงคลอันประมาณค่ามิได้
กุฏิหลวงปู่ชอบ อีกทั้งองค์หลวงปู่ชอบ ซึ่งมีจิตเมตตาเอ็นดูท่านพระอาจารย์สาครอยู่เสมอ แม้เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๑๔ เมื่อองค์หลวงปู่อาพาธ ไม่สามารถเดินได้ เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ไปกราบเยี่ยมองค์หลวงปู่ ท่านก็จะเอ็นดู ให้ท่านพระอาจารย์สาคร อุ้มพาท่านไปโน่นมานี่เสมอ และหากท่านพระอาจารย์สาคร ขาดการไปเยี่ยม สัก ๒ – ๓ เดือน องค์หลวงปู่ มักจะให้พระมาตาม ท่านพระอาจารย์สาคร ไปเยี่ยมท่านเสมอ หากลูกศิษย์องค์นี้ขึ้นไปไม่ได้ องค์หลวงปู่ชอบ ก็จะให้คนพาองค์ท่านมาเยี่ยมเอง แม้ท่านพระอาจารย์สาคร จะมาอยู่ที่วัดเวฬุวันแล้ว องค์หลวงปู่ชอบ ก็ได้เมตตา มาโปรดให้เป็นสิริมงคลแก่พระเณร และญาติโยม ที่วัดเวฬุวัน ถึง ๒ ครั้งด้วยกัน โดยท่านพระอาจารย์สาคร ได้สร้างกุฏิถวาย เป็นที่พักภาวนาแก่องค์หลวงปู่ทั้งสอง ที่ข้างบ่อพุน้ำ ที่ท่านเคยนิมิตเห็น และถือเป็นนิมิตหมาย ในการตามหาสถานที่ สร้างวัดเวฬุวันแห่งนี้ โดยปัจจุบัน กุฏินี้ก็ยังอยู่ เป็นอนุสรณ์ รำลึกถึงความเมตตา ที่ได้รับจากองค์หลวงปู่ทั้งสอง ผู้เป็นดั่งเพชรคู่แฝดประดับยอดมงกุฏแห่งเมืองเลย
พระอาจารย์สาคร อุ้มหลวงปู่ชอบ
คลิกเพื่อดูแผนที่กูเกิ้ล
กำเนิดวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ขอโอกาสกราบลาจากองค์หลวงปู่หลุยแล้ว ท่านได้พิจารณาแสวงหา ที่ปฏิบัติธรรม โดยท่าน ได้เลือกไปวิเวก ทางจังหวัดกาญจนบุรี เพราะเห็นว่าสถานที่นั้น ยังไม่ค่อยมีพระปฏิบัติมาพักอยู่ ท่านจึงบอกกับลูกศิษย์ ให้ขับรถมารับที่วัดพระศรีมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร เพื่อเดินทาง ไปทางจังหวัดกาญจนบุรี และได้ มาส่งท่าน ถึงเพียงแค่วัดพุทธวิมุติวนาราม อ.ไทรโยค ด้วยถนนเพิ่งสร้างมาสิ้นสุด ณ ตรงนั้น การเดินทาง จึงต้องเดินทางต่อโดยทางเรือ จนถึงทองผาภูมิ ท่านจึงให้คณะที่มาส่งกลับไป เหลือแต่ท่านพระอาจารย์สาคร เดินทางต่อไปเพียงลำพัง เมื่อถึงทองผาภูมิ เนื่องจากท่านไม่รู้จักใคร ท่านจึงได้สอบถามหาโยมผู้อุปถัมภ์ วัดในละแวกนั้นให้พาท่านไปดูถ้ำต่าง ๆ เพื่อเป็นที่พำนักปฏิบัติ ในพรรษาที่ใกล้จะมาถึง พวกโยมได้พาไป ดูถ้ำหลายแห่ง จนในที่สุดท่านมาพบ ถ้ำแก่งกระโต่ง อ. ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี เป็นที่จำพรรษาในคราวนั้นเอง
ถ้ำแก่งกระโต่ง  องค์หลวงปู่ฝั้นพาสร้างวัดใหม่ คืนหนึ่งที่ถ้ำแก่งกระโต่ง ท่านพระอาจารย์สาคร เข้าภาวนาตอนหัวค่ำอันเป็นปกติ ปรากฏว่าเมื่อจิตสงบแล้วในค่ำนั้น ท่านได้นิมิตเห็นองค์หลวงปู่ฝั้น พาท่านและพระเณรสร้าง กุฏิพระ ศาลา ถนนหนทางในวัดแห่งหนึ่ง ท่านและพระเณรอื่น ๆ ก็ช่วยกันสร้างอย่างแข็งขัน เฉกเช่นที่ท่าน เคยช่วยงานก่อสร้าง กับองค์หลวงปู่ฝั้นมาตามปกติ ท่านอยู่สร้างวัดนั้นนานเหมือนเป็นปี จนท่านคุ้นเคยกับสถานที่นั้นเป็นอย่างดี ด้วยต้องเดินไปทั่วเขตวัดเพื่อสำรวจทาง และหาไม้ หาฟืน อยู่ทุกวัน จนท่านจำได้ว่ามีถนน มีกุฏิ ศาลา อยู่อย่างไร มีคลองทางน้ำ มีต้นไม้อะไรอยู่ตรงไหน สิ่งหนึ่งที่ท่านจำได้ชัดคือ บ่อน้ำพุที่มีปลาอาศัย มีต้นไม้ที่ไม่มีรากแก้วล้มอยู่ ด้านโคนต้นอยู่ที่บ่อพุน้ำ ทางปลายพาดคลองชี้ไปทางทิศตะวันออก วันหนึ่ง หลังจากพักทำงาน ขณะองค์หลวงปู่ฝั้นมาพักฉันน้ำ องค์หลวงปู่ก็พูดขึ้นกับท่านพระอาจารย์สาครว่า “ท่านอยู่ที่นี่นะ” ในนิมิตนั้น ท่านพระอาจารย์สาครได้ตอบไปว่า “กระผมไม่เอา กระผมจะกลับสกลนคร ที่นี่ลำบาก” ด้วยการตอบสวนคำ ที่ไม่เคยทำต่อองค์หลวงปู่ฝั้นมาก่อน จิตท่านจึงถอนทันที ซึ่งขณะนั้นเป็นเวลา ตี ๒ ล่วงเข้าวันใหม่ เมื่อมีโอกาส ท่านพระอาจารย์สาคร จึงสอบถามกับญาติโยม ที่มีศรัทธามาทำบุญใส่บาตร ว่าเคยเห็นสถานที่ ที่มีลักษณะดังกล่าวหรือไม่ จนได้ความแล้วจึงได้ไปดู พบว่าสถานที่นั้นตรงกับในนิมิตทุกประการ ซึ่งขณะที่เดินไปนั้น ท่านสามารถบอกล่วงหน้าได้ว่า ประเดี๋ยวตรงทางขึ้นวัด จะมีจอมปลวกและไม้แดงอยู่ ก็พบดังท่านบอก และถัดไปจะมีต้นมะขามป้อม และมีคลองทางน้ำไหลมาจากบ่อพุน้ำด้านบน เดินไปตามคลองจะมีต้นฉะค่าง และเมื่อข้ามคลองไปจะเจอต้นแดงคู่อยู่ ก็เจอตามที่ท่านพูด เหมือนคุ้นเคยมาก่อน และเมื่อสุดคลองก็พบบ่อพุน้ำ มีต้นไม้ล้มอยู่ ในลักษณะที่ท่านเห็นในนิมิตทุกประการ
บ่อพุน้ำ ดังนั้น ท่านจึงตัดสินใจ พาญาติโยมผู้มีจิตศรัทธา เริ่มสร้างเสนาสนะ ตามที่องค์หลวงปู่ฝั้นบอกกับท่าน ในนิมิต และท่านได้อยู่จำพรรษา ณ สถานที่นี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ เรื่อยมา ต่อมาท่าน ได้สร้างเสนาสนะเพิ่มเติม จนเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๓ ได้รับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนา โดยสมบูรณ์ มีนามว่า วัดเวฬุวัน เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๓ และท่านพระอาจารย์สาคร ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๓๗ และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๑ และได้พระราชทานสมณศัักดิ์ เป็น พระครูภาวนาสุทธาจาร เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๑ นับจากวันที่ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวัน เป็นต้นมา สถานที่แห่งนี้ ได้สร้างได้อบรมพระปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และอบรมอุบาสก อุบาสิกา ให้ดำรงอยู่ในเส้นทาง แห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก อีกประการหนึ่ง อาจเป็นจุดประสงค์ขององค์หลวงปู่ฝั้น ที่ต้องการให้วัดเวฬุวัน เป็นสถานที่คอยสนับสนุนพระเณร ที่มุ่งต่อการประพฤติ ปฏิบัติธรรม เพราะหากพิจารณาสภาพผืนป่า ที่เหมาะแก่การประพฤติปฏิบัติ ในปัจจุบันนี้ ก็จะเห็นว่า ผืนป่าภาคตะวันตก ยังคงความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด และเป็นสถานที่สัปปายะอย่างยิ่ง ซึ่งตำแหน่งที่ตั้งของวัดเวฬุวัน เป็นเหมือนประตูที่เข้า ไปสู่ผืนป่าดังกล่าว องค์หลวงปู่ฝั้น จึงได้สั่งให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างวัดขึ้น ณ ที่ตรงนี้ เพื่อความเจริญแก่พระเณร และพระพุทธศาสนาต่อไป จวบจนปัจจุบันนี้ ต้นแดงตรงทางขึ้นวัด ยังคงอยู่ข้างโรงล้างบาตรในปัจจุบัน ส่วนต้นมะข้ามป้อมที่ท่านตั้งใจจะเก็บไว้ ถูกไถไปแล้วเมื่อครั้งสร้างศาลา ส่วนต้นฉะค่าง และต้นแดงคู่ยังคง ที่บ่อพุน้ำท่านได้สร้างขอบรอบบ่อ เพื่อให้ปลาได้อาศัย และทุกหน้าน้ำก็จะมีน้ำผุดไหลออกมาจนเต็ม และล้น ไหลไปตามทางน้ำ เป็นคลองดังที่ท่านเห็นในนิมิตนั้น เสมอทุกปี ส่วนต้นไม้ที่ล้มเป็นหมายนั้น เป็นไม้เนื้ออ่อนก็ได้ผุพังสูญสลายไปตามกาลเวลา
โรงล้างบาตร เมตตาของสององค์หลวงปู่ ต่อวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวันแล้ว ก็ได้กลับไปกราบเรียน ถึงความก้าวหน้า และสภาพอันสัปปายะของวัด แก่องค์หลวงปู่หลุย และองค์หลวงปู่ชอบเสมอ ๆ องค์หลวงปู่ทั้งสอง ก็มีเมตตาชมเชย และให้กำลังใจตลอดมา ตามที่ท่านพระอาจารย์สาคร กราบเรียนว่า สภาพป่าบริเวณวัด ยังอุดมสมบูรณ์อยู่มาก มีเสือ ค่าง และสัตว์ป่าหลายชนิดชุกชุมอยู่ และมักจะมีเทวดามาสวดมนต์ทำวัตรอยู่เสมอๆ องค์หลวงปู่หลุยจึงบอกว่า “สถานที่นี้เป็นมงคล เป็นที่ศักดิ์สิทธิ์ ทำภาวนาดี ให้ท่านสาครอยู่ที่นี่แหละ” และองค์หลวงปู่หลุย ยังให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างกุฏิสำหรับองค์ท่านด้วย โดยเมตตาให้ปัจจัยมาสร้าง ๑๐,๐๐๐ บาท โดยให้สร้างกุฏิท่านมีเสา ๒๐ ต้น และครั้งเมื่อท่านพระอาจารย์สาคร สร้างศาลา องค์หลวงปู่หลุยยังเมตตา ให้ปัจจัยมาร่วมสร้างอีกด้วย นับเป็นมงคลอันประมาณค่ามิได้
กุฏิหลวงปู่ชอบ อีกทั้งองค์หลวงปู่ชอบ ซึ่งมีจิตเมตตาเอ็นดูท่านพระอาจารย์สาครอยู่เสมอ แม้เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๑๔ เมื่อองค์หลวงปู่อาพาธ ไม่สามารถเดินได้ เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ไปกราบเยี่ยมองค์หลวงปู่ ท่านก็จะเอ็นดู ให้ท่านพระอาจารย์สาคร อุ้มพาท่านไปโน่นมานี่เสมอ และหากท่านพระอาจารย์สาคร ขาดการไปเยี่ยม สัก ๒ – ๓ เดือน องค์หลวงปู่ มักจะให้พระมาตาม ท่านพระอาจารย์สาคร ไปเยี่ยมท่านเสมอ หากลูกศิษย์องค์นี้ขึ้นไปไม่ได้ องค์หลวงปู่ชอบ ก็จะให้คนพาองค์ท่านมาเยี่ยมเอง แม้ท่านพระอาจารย์สาคร จะมาอยู่ที่วัดเวฬุวันแล้ว องค์หลวงปู่ชอบ ก็ได้เมตตา มาโปรดให้เป็นสิริมงคลแก่พระเณร และญาติโยม ที่วัดเวฬุวัน ถึง ๒ ครั้งด้วยกัน โดยท่านพระอาจารย์สาคร ได้สร้างกุฏิถวาย เป็นที่พักภาวนาแก่องค์หลวงปู่ทั้งสอง ที่ข้างบ่อพุน้ำ ที่ท่านเคยนิมิตเห็น และถือเป็นนิมิตหมาย ในการตามหาสถานที่ สร้างวัดเวฬุวันแห่งนี้ โดยปัจจุบัน กุฏินี้ก็ยังอยู่ เป็นอนุสรณ์ รำลึกถึงความเมตตา ที่ได้รับจากองค์หลวงปู่ทั้งสอง ผู้เป็นดั่งเพชรคู่แฝดประดับยอดมงกุฏแห่งเมืองเลย
พระอาจารย์สาคร อุ้มหลวงปู่ชอบ
คลิกเพื่อดูแผนที่กูเกิ้ล
กำเนิดวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ขอโอกาสกราบลาจากองค์หลวงปู่หลุยแล้ว ท่านได้พิจารณาแสวงหา ที่ปฏิบัติธรรม โดยท่าน ได้เลือกไปวิเวก ทางจังหวัดกาญจนบุรี เพราะเห็นว่าสถานที่นั้น ยังไม่ค่อยมีพระปฏิบัติมาพักอยู่ ท่านจึงบอกกับลูกศิษย์ ให้ขับรถมารับที่วัดพระศรีมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร เพื่อเดินทาง ไปทางจังหวัดกาญจนบุรี และได้ มาส่งท่าน ถึงเพียงแค่วัดพุทธวิมุติวนาราม อ.ไทรโยค ด้วยถนนเพิ่งสร้างมาสิ้นสุด ณ ตรงนั้น การเดินทาง จึงต้องเดินทางต่อโดยทางเรือ จนถึงทองผาภูมิ ท่านจึงให้คณะที่มาส่งกลับไป เหลือแต่ท่านพระอาจารย์สาคร เดินทางต่อไปเพียงลำพัง เมื่อถึงทองผาภูมิ เนื่องจากท่านไม่รู้จักใคร ท่านจึงได้สอบถามหาโยมผู้อุปถัมภ์ วัดในละแวกนั้นให้พาท่านไปดูถ้ำต่าง ๆ เพื่อเป็นที่พำนักปฏิบัติ ในพรรษาที่ใกล้จะมาถึง พวกโยมได้พาไป ดูถ้ำหลายแห่ง จนในที่สุดท่านมาพบ ถ้ำแก่งกระโต่ง อ. ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี เป็นที่จำพรรษาในคราวนั้นเอง
ถ้ำแก่งกระโต่ง  องค์หลวงปู่ฝั้นพาสร้างวัดใหม่ คืนหนึ่งที่ถ้ำแก่งกระโต่ง ท่านพระอาจารย์สาคร เข้าภาวนาตอนหัวค่ำอันเป็นปกติ ปรากฏว่าเมื่อจิตสงบแล้วในค่ำนั้น ท่านได้นิมิตเห็นองค์หลวงปู่ฝั้น พาท่านและพระเณรสร้าง กุฏิพระ ศาลา ถนนหนทางในวัดแห่งหนึ่ง ท่านและพระเณรอื่น ๆ ก็ช่วยกันสร้างอย่างแข็งขัน เฉกเช่นที่ท่าน เคยช่วยงานก่อสร้าง กับองค์หลวงปู่ฝั้นมาตามปกติ ท่านอยู่สร้างวัดนั้นนานเหมือนเป็นปี จนท่านคุ้นเคยกับสถานที่นั้นเป็นอย่างดี ด้วยต้องเดินไปทั่วเขตวัดเพื่อสำรวจทาง และหาไม้ หาฟืน อยู่ทุกวัน จนท่านจำได้ว่ามีถนน มีกุฏิ ศาลา อยู่อย่างไร มีคลองทางน้ำ มีต้นไม้อะไรอยู่ตรงไหน สิ่งหนึ่งที่ท่านจำได้ชัดคือ บ่อน้ำพุที่มีปลาอาศัย มีต้นไม้ที่ไม่มีรากแก้วล้มอยู่ ด้านโคนต้นอยู่ที่บ่อพุน้ำ ทางปลายพาดคลองชี้ไปทางทิศตะวันออก วันหนึ่ง หลังจากพักทำงาน ขณะองค์หลวงปู่ฝั้นมาพักฉันน้ำ องค์หลวงปู่ก็พูดขึ้นกับท่านพระอาจารย์สาครว่า “ท่านอยู่ที่นี่นะ” ในนิมิตนั้น ท่านพระอาจารย์สาครได้ตอบไปว่า “กระผมไม่เอา กระผมจะกลับสกลนคร ที่นี่ลำบาก” ด้วยการตอบสวนคำ ที่ไม่เคยทำต่อองค์หลวงปู่ฝั้นมาก่อน จิตท่านจึงถอนทันที ซึ่งขณะนั้นเป็นเวลา ตี ๒ ล่วงเข้าวันใหม่ เมื่อมีโอกาส ท่านพระอาจารย์สาคร จึงสอบถามกับญาติโยม ที่มีศรัทธามาทำบุญใส่บาตร ว่าเคยเห็นสถานที่ ที่มีลักษณะดังกล่าวหรือไม่ จนได้ความแล้วจึงได้ไปดู พบว่าสถานที่นั้นตรงกับในนิมิตทุกประการ ซึ่งขณะที่เดินไปนั้น ท่านสามารถบอกล่วงหน้าได้ว่า ประเดี๋ยวตรงทางขึ้นวัด จะมีจอมปลวกและไม้แดงอยู่ ก็พบดังท่านบอก และถัดไปจะมีต้นมะขามป้อม และมีคลองทางน้ำไหลมาจากบ่อพุน้ำด้านบน เดินไปตามคลองจะมีต้นฉะค่าง และเมื่อข้ามคลองไปจะเจอต้นแดงคู่อยู่ ก็เจอตามที่ท่านพูด เหมือนคุ้นเคยมาก่อน และเมื่อสุดคลองก็พบบ่อพุน้ำ มีต้นไม้ล้มอยู่ ในลักษณะที่ท่านเห็นในนิมิตทุกประการ
บ่อพุน้ำ ดังนั้น ท่านจึงตัดสินใจ พาญาติโยมผู้มีจิตศรัทธา เริ่มสร้างเสนาสนะ ตามที่องค์หลวงปู่ฝั้นบอกกับท่าน ในนิมิต และท่านได้อยู่จำพรรษา ณ สถานที่นี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ เรื่อยมา ต่อมาท่าน ได้สร้างเสนาสนะเพิ่มเติม จนเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๓ ได้รับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนา โดยสมบูรณ์ มีนามว่า วัดเวฬุวัน เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๓ และท่านพระอาจารย์สาคร ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๓๗ และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๑ และได้พระราชทานสมณศัักดิ์ เป็น พระครูภาวนาสุทธาจาร เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๑ นับจากวันที่ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวัน เป็นต้นมา สถานที่แห่งนี้ ได้สร้างได้อบรมพระปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และอบรมอุบาสก อุบาสิกา ให้ดำรงอยู่ในเส้นทาง แห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก อีกประการหนึ่ง อาจเป็นจุดประสงค์ขององค์หลวงปู่ฝั้น ที่ต้องการให้วัดเวฬุวัน เป็นสถานที่คอยสนับสนุนพระเณร ที่มุ่งต่อการประพฤติ ปฏิบัติธรรม เพราะหากพิจารณาสภาพผืนป่า ที่เหมาะแก่การประพฤติปฏิบัติ ในปัจจุบันนี้ ก็จะเห็นว่า ผืนป่าภาคตะวันตก ยังคงความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด และเป็นสถานที่สัปปายะอย่างยิ่ง ซึ่งตำแหน่งที่ตั้งของวัดเวฬุวัน เป็นเหมือนประตูที่เข้า ไปสู่ผืนป่าดังกล่าว องค์หลวงปู่ฝั้น จึงได้สั่งให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างวัดขึ้น ณ ที่ตรงนี้ เพื่อความเจริญแก่พระเณร และพระพุทธศาสนาต่อไป จวบจนปัจจุบันนี้ ต้นแดงตรงทางขึ้นวัด ยังคงอยู่ข้างโรงล้างบาตรในปัจจุบัน ส่วนต้นมะข้ามป้อมที่ท่านตั้งใจจะเก็บไว้ ถูกไถไปแล้วเมื่อครั้งสร้างศาลา ส่วนต้นฉะค่าง และต้นแดงคู่ยังคง ที่บ่อพุน้ำท่านได้สร้างขอบรอบบ่อ เพื่อให้ปลาได้อาศัย และทุกหน้าน้ำก็จะมีน้ำผุดไหลออกมาจนเต็ม และล้น ไหลไปตามทางน้ำ เป็นคลองดังที่ท่านเห็นในนิมิตนั้น เสมอทุกปี ส่วนต้นไม้ที่ล้มเป็นหมายนั้น เป็นไม้เนื้ออ่อนก็ได้ผุพังสูญสลายไปตามกาลเวลา
โรงล้างบาตร เมตตาของสององค์หลวงปู่ ต่อวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวันแล้ว ก็ได้กลับไปกราบเรียน ถึงความก้าวหน้า และสภาพอันสัปปายะของวัด แก่องค์หลวงปู่หลุย และองค์หลวงปู่ชอบเสมอ ๆ องค์หลวงปู่ทั้งสอง ก็มีเมตตาชมเชย และให้กำลังใจตลอดมา ตามที่ท่านพระอาจารย์สาคร กราบเรียนว่า สภาพป่าบริเวณวัด ยังอุดมสมบูรณ์อยู่มาก มีเสือ ค่าง และสัตว์ป่าหลายชนิดชุกชุมอยู่ และมักจะมีเทวดามาสวดมนต์ทำวัตรอยู่เสมอๆ องค์หลวงปู่หลุยจึงบอกว่า “สถานที่นี้เป็นมงคล เป็นที่ศักดิ์สิทธิ์ ทำภาวนาดี ให้ท่านสาครอยู่ที่นี่แหละ” และองค์หลวงปู่หลุย ยังให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างกุฏิสำหรับองค์ท่านด้วย โดยเมตตาให้ปัจจัยมาสร้าง ๑๐,๐๐๐ บาท โดยให้สร้างกุฏิท่านมีเสา ๒๐ ต้น และครั้งเมื่อท่านพระอาจารย์สาคร สร้างศาลา องค์หลวงปู่หลุยยังเมตตา ให้ปัจจัยมาร่วมสร้างอีกด้วย นับเป็นมงคลอันประมาณค่ามิได้
กุฏิหลวงปู่ชอบ อีกทั้งองค์หลวงปู่ชอบ ซึ่งมีจิตเมตตาเอ็นดูท่านพระอาจารย์สาครอยู่เสมอ แม้เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๑๔ เมื่อองค์หลวงปู่อาพาธ ไม่สามารถเดินได้ เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ไปกราบเยี่ยมองค์หลวงปู่ ท่านก็จะเอ็นดู ให้ท่านพระอาจารย์สาคร อุ้มพาท่านไปโน่นมานี่เสมอ และหากท่านพระอาจารย์สาคร ขาดการไปเยี่ยม สัก ๒ – ๓ เดือน องค์หลวงปู่ มักจะให้พระมาตาม ท่านพระอาจารย์สาคร ไปเยี่ยมท่านเสมอ หากลูกศิษย์องค์นี้ขึ้นไปไม่ได้ องค์หลวงปู่ชอบ ก็จะให้คนพาองค์ท่านมาเยี่ยมเอง แม้ท่านพระอาจารย์สาคร จะมาอยู่ที่วัดเวฬุวันแล้ว องค์หลวงปู่ชอบ ก็ได้เมตตา มาโปรดให้เป็นสิริมงคลแก่พระเณร และญาติโยม ที่วัดเวฬุวัน ถึง ๒ ครั้งด้วยกัน โดยท่านพระอาจารย์สาคร ได้สร้างกุฏิถวาย เป็นที่พักภาวนาแก่องค์หลวงปู่ทั้งสอง ที่ข้างบ่อพุน้ำ ที่ท่านเคยนิมิตเห็น และถือเป็นนิมิตหมาย ในการตามหาสถานที่ สร้างวัดเวฬุวันแห่งนี้ โดยปัจจุบัน กุฏินี้ก็ยังอยู่ เป็นอนุสรณ์ รำลึกถึงความเมตตา ที่ได้รับจากองค์หลวงปู่ทั้งสอง ผู้เป็นดั่งเพชรคู่แฝดประดับยอดมงกุฏแห่งเมืองเลย
พระอาจารย์สาคร อุ้มหลวงปู่ชอบ
คลิกเพื่อดูแผนที่กูเกิ้ล
กำเนิดวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ขอโอกาสกราบลาจากองค์หลวงปู่หลุยแล้ว ท่านได้พิจารณาแสวงหา ที่ปฏิบัติธรรม โดยท่าน ได้เลือกไปวิเวก ทางจังหวัดกาญจนบุรี เพราะเห็นว่าสถานที่นั้น ยังไม่ค่อยมีพระปฏิบัติมาพักอยู่ ท่านจึงบอกกับลูกศิษย์ ให้ขับรถมารับที่วัดพระศรีมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร เพื่อเดินทาง ไปทางจังหวัดกาญจนบุรี และได้ มาส่งท่าน ถึงเพียงแค่วัดพุทธวิมุติวนาราม อ.ไทรโยค ด้วยถนนเพิ่งสร้างมาสิ้นสุด ณ ตรงนั้น การเดินทาง จึงต้องเดินทางต่อโดยทางเรือ จนถึงทองผาภูมิ ท่านจึงให้คณะที่มาส่งกลับไป เหลือแต่ท่านพระอาจารย์สาคร เดินทางต่อไปเพียงลำพัง เมื่อถึงทองผาภูมิ เนื่องจากท่านไม่รู้จักใคร ท่านจึงได้สอบถามหาโยมผู้อุปถัมภ์ วัดในละแวกนั้นให้พาท่านไปดูถ้ำต่าง ๆ เพื่อเป็นที่พำนักปฏิบัติ ในพรรษาที่ใกล้จะมาถึง พวกโยมได้พาไป ดูถ้ำหลายแห่ง จนในที่สุดท่านมาพบ ถ้ำแก่งกระโต่ง อ. ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี เป็นที่จำพรรษาในคราวนั้นเอง
ถ้ำแก่งกระโต่ง  องค์หลวงปู่ฝั้นพาสร้างวัดใหม่ คืนหนึ่งที่ถ้ำแก่งกระโต่ง ท่านพระอาจารย์สาคร เข้าภาวนาตอนหัวค่ำอันเป็นปกติ ปรากฏว่าเมื่อจิตสงบแล้วในค่ำนั้น ท่านได้นิมิตเห็นองค์หลวงปู่ฝั้น พาท่านและพระเณรสร้าง กุฏิพระ ศาลา ถนนหนทางในวัดแห่งหนึ่ง ท่านและพระเณรอื่น ๆ ก็ช่วยกันสร้างอย่างแข็งขัน เฉกเช่นที่ท่าน เคยช่วยงานก่อสร้าง กับองค์หลวงปู่ฝั้นมาตามปกติ ท่านอยู่สร้างวัดนั้นนานเหมือนเป็นปี จนท่านคุ้นเคยกับสถานที่นั้นเป็นอย่างดี ด้วยต้องเดินไปทั่วเขตวัดเพื่อสำรวจทาง และหาไม้ หาฟืน อยู่ทุกวัน จนท่านจำได้ว่ามีถนน มีกุฏิ ศาลา อยู่อย่างไร มีคลองทางน้ำ มีต้นไม้อะไรอยู่ตรงไหน สิ่งหนึ่งที่ท่านจำได้ชัดคือ บ่อน้ำพุที่มีปลาอาศัย มีต้นไม้ที่ไม่มีรากแก้วล้มอยู่ ด้านโคนต้นอยู่ที่บ่อพุน้ำ ทางปลายพาดคลองชี้ไปทางทิศตะวันออก วันหนึ่ง หลังจากพักทำงาน ขณะองค์หลวงปู่ฝั้นมาพักฉันน้ำ องค์หลวงปู่ก็พูดขึ้นกับท่านพระอาจารย์สาครว่า “ท่านอยู่ที่นี่นะ” ในนิมิตนั้น ท่านพระอาจารย์สาครได้ตอบไปว่า “กระผมไม่เอา กระผมจะกลับสกลนคร ที่นี่ลำบาก” ด้วยการตอบสวนคำ ที่ไม่เคยทำต่อองค์หลวงปู่ฝั้นมาก่อน จิตท่านจึงถอนทันที ซึ่งขณะนั้นเป็นเวลา ตี ๒ ล่วงเข้าวันใหม่ เมื่อมีโอกาส ท่านพระอาจารย์สาคร จึงสอบถามกับญาติโยม ที่มีศรัทธามาทำบุญใส่บาตร ว่าเคยเห็นสถานที่ ที่มีลักษณะดังกล่าวหรือไม่ จนได้ความแล้วจึงได้ไปดู พบว่าสถานที่นั้นตรงกับในนิมิตทุกประการ ซึ่งขณะที่เดินไปนั้น ท่านสามารถบอกล่วงหน้าได้ว่า ประเดี๋ยวตรงทางขึ้นวัด จะมีจอมปลวกและไม้แดงอยู่ ก็พบดังท่านบอก และถัดไปจะมีต้นมะขามป้อม และมีคลองทางน้ำไหลมาจากบ่อพุน้ำด้านบน เดินไปตามคลองจะมีต้นฉะค่าง และเมื่อข้ามคลองไปจะเจอต้นแดงคู่อยู่ ก็เจอตามที่ท่านพูด เหมือนคุ้นเคยมาก่อน และเมื่อสุดคลองก็พบบ่อพุน้ำ มีต้นไม้ล้มอยู่ ในลักษณะที่ท่านเห็นในนิมิตทุกประการ
บ่อพุน้ำ ดังนั้น ท่านจึงตัดสินใจ พาญาติโยมผู้มีจิตศรัทธา เริ่มสร้างเสนาสนะ ตามที่องค์หลวงปู่ฝั้นบอกกับท่าน ในนิมิต และท่านได้อยู่จำพรรษา ณ สถานที่นี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ เรื่อยมา ต่อมาท่าน ได้สร้างเสนาสนะเพิ่มเติม จนเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๓ ได้รับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนา โดยสมบูรณ์ มีนามว่า วัดเวฬุวัน เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๓ และท่านพระอาจารย์สาคร ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๓๗ และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๑ และได้พระราชทานสมณศัักดิ์ เป็น พระครูภาวนาสุทธาจาร เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๑ นับจากวันที่ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวัน เป็นต้นมา สถานที่แห่งนี้ ได้สร้างได้อบรมพระปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และอบรมอุบาสก อุบาสิกา ให้ดำรงอยู่ในเส้นทาง แห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก อีกประการหนึ่ง อาจเป็นจุดประสงค์ขององค์หลวงปู่ฝั้น ที่ต้องการให้วัดเวฬุวัน เป็นสถานที่คอยสนับสนุนพระเณร ที่มุ่งต่อการประพฤติ ปฏิบัติธรรม เพราะหากพิจารณาสภาพผืนป่า ที่เหมาะแก่การประพฤติปฏิบัติ ในปัจจุบันนี้ ก็จะเห็นว่า ผืนป่าภาคตะวันตก ยังคงความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด และเป็นสถานที่สัปปายะอย่างยิ่ง ซึ่งตำแหน่งที่ตั้งของวัดเวฬุวัน เป็นเหมือนประตูที่เข้า ไปสู่ผืนป่าดังกล่าว องค์หลวงปู่ฝั้น จึงได้สั่งให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างวัดขึ้น ณ ที่ตรงนี้ เพื่อความเจริญแก่พระเณร และพระพุทธศาสนาต่อไป จวบจนปัจจุบันนี้ ต้นแดงตรงทางขึ้นวัด ยังคงอยู่ข้างโรงล้างบาตรในปัจจุบัน ส่วนต้นมะข้ามป้อมที่ท่านตั้งใจจะเก็บไว้ ถูกไถไปแล้วเมื่อครั้งสร้างศาลา ส่วนต้นฉะค่าง และต้นแดงคู่ยังคง ที่บ่อพุน้ำท่านได้สร้างขอบรอบบ่อ เพื่อให้ปลาได้อาศัย และทุกหน้าน้ำก็จะมีน้ำผุดไหลออกมาจนเต็ม และล้น ไหลไปตามทางน้ำ เป็นคลองดังที่ท่านเห็นในนิมิตนั้น เสมอทุกปี ส่วนต้นไม้ที่ล้มเป็นหมายนั้น เป็นไม้เนื้ออ่อนก็ได้ผุพังสูญสลายไปตามกาลเวลา
โรงล้างบาตร
เมตตาของสององค์หลวงปู่ ต่อวัดเวฬุวัน เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ได้เริ่มสร้างวัดเวฬุวันแล้ว ก็ได้กลับไปกราบเรียน ถึงความก้าวหน้า และสภาพอันสัปปายะของวัด แก่องค์หลวงปู่หลุย และองค์หลวงปู่ชอบเสมอ ๆ องค์หลวงปู่ทั้งสอง ก็มีเมตตาชมเชย และให้กำลังใจตลอดมา ตามที่ท่านพระอาจารย์สาคร กราบเรียนว่า สภาพป่าบริเวณวัด ยังอุดมสมบูรณ์อยู่มาก มีเสือ ค่าง และสัตว์ป่าหลายชนิดชุกชุมอยู่ และมักจะมีเทวดามาสวดมนต์ทำวัตรอยู่เสมอๆ องค์หลวงปู่หลุยจึงบอกว่า “สถานที่นี้เป็นมงคล เป็นที่ศักดิ์สิทธิ์ ทำภาวนาดี ให้ท่านสาครอยู่ที่นี่แหละ” และองค์หลวงปู่หลุย ยังให้ท่านพระอาจารย์สาคร สร้างกุฏิสำหรับองค์ท่านด้วย โดยเมตตาให้ปัจจัยมาสร้าง ๑๐,๐๐๐ บาท โดยให้สร้างกุฏิท่านมีเสา ๒๐ ต้น และครั้งเมื่อท่านพระอาจารย์สาคร สร้างศาลา องค์หลวงปู่หลุยยังเมตตา ให้ปัจจัยมาร่วมสร้างอีกด้วย นับเป็นมงคลอันประมาณค่ามิได้
กุฏิหลวงปู่ชอบ อีกทั้งองค์หลวงปู่ชอบ ซึ่งมีจิตเมตตาเอ็นดูท่านพระอาจารย์สาครอยู่เสมอ แม้เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๑๔ เมื่อองค์หลวงปู่อาพาธ ไม่สามารถเดินได้ เมื่อท่านพระอาจารย์สาคร ไปกราบเยี่ยมองค์หลวงปู่ ท่านก็จะเอ็นดู ให้ท่านพระอาจารย์สาคร อุ้มพาท่านไปโน่นมานี่เสมอ และหากท่านพระอาจารย์สาคร ขาดการไปเยี่ยม สัก ๒ – ๓ เดือน องค์หลวงปู่ มักจะให้พระมาตาม ท่านพระอาจารย์สาคร ไปเยี่ยมท่านเสมอ หากลูกศิษย์องค์นี้ขึ้นไปไม่ได้ องค์หลวงปู่ชอบ ก็จะให้คนพาองค์ท่านมาเยี่ยมเอง แม้ท่านพระอาจารย์สาคร จะมาอยู่ที่วัดเวฬุวันแล้ว องค์หลวงปู่ชอบ ก็ได้เมตตา มาโปรดให้เป็นสิริมงคลแก่พระเณร และญาติโยม ที่วัดเวฬุวัน ถึง ๒ ครั้งด้วยกัน โดยท่านพระอาจารย์สาคร ได้สร้างกุฏิถวาย เป็นที่พักภาวนาแก่องค์หลวงปู่ทั้งสอง ที่ข้างบ่อพุน้ำ ที่ท่านเคยนิมิตเห็น และถือเป็นนิมิตหมาย ในการตามหาสถานที่ สร้างวัดเวฬุวันแห่งนี้ โดยปัจจุบัน กุฏินี้ก็ยังอยู่ เป็นอนุสรณ์ รำลึกถึงความเมตตา ที่ได้รับจากองค์หลวงปู่ทั้งสอง ผู้เป็นดั่งเพชรคู่แฝดประดับยอดมงกุฏแห่งเมืองเลย
พระอาจารย์สาคร อุ้มหลวงปู่ชอบ
คลิกเพื่อดูแผนที่กูเกิ้ล